Vocabulary recordings — เข้างาย

คำว่า เข้างาย นี้กะสิหมายถึงว่า เข้าเซ้า เนาะ เข้าเซ้า หลือว่าเวลาเซ้า ในตอนกินเข้าต้องเป็นญามมื้อเซ้า สิเอิ้นว่าเข้างาย หลือว่าเข้าเซ้าเนาะ กะสิอาดในเวลาที่หกโมงฮอดเก้าโมงปะมานนั้นเนาะ กะสิเอิ้นว่าเข้าเซ้าหลือว่าเข้างาย ขั้นเกินหกโมงเซ้าฮอดเก้าโมงกะสิเอิ้นว่า เข้าสวย เนาะ

กานใซ้คำว่าเข้างาย หลือว่าเข้าเซ้านั้น กะอาดสิใซ้ในปะโยกที่แบบว่า

กินเข้างายไป่
กินเข้างายแล้วติ
มากินเข้างายนำกันเด้อ
มากินเข้าเซ้านำกัน
กินเข้างายกับอี่หยังหละพ่อใหญ่

อันนี้กะสิเป็นโตอย่างหลือว่ากานใซ้ที่มีคำว่าเข้างาย หลือว่าใซ้ในญามมื้อเซ้าที่เอิ้นกันกินเข้า หลือว่าใซ้กานเอิ้นกินเข้าในญามมื้อเซ้าเนาะ

Link to overview page
Link to dictionary

IsaanPronunciationTonesThaiEnglish/Notes
คำ kham HR คำ word
ว่า wa: H ว่า 1. that, as {คำว่า X = the word X}
2. to say
เข้างาย khao-ŋa:i LF-HR ข้าวเช้า breakfast
นี้ ni: HF นี้ 1. this
2. here
กะ ga M ก็ 1. then, consequently
2. also
สิ si M จะ future tense auxiliary {เขากำลังสิตื่น = he's about to wake up} {สิไปตะหลาด = [I'm] going to the market}
หมายถึง ma:i-thʉŋ M-M หมายถึง to mean
เข้าเซ้า khao-sao LF-HF อาหารเช้า breakfast
เนาะ H เนาะ final particle: makes the statement softer, looking for agreement
หลือ lʉ: M หรือ or
เวลา we:-la: HR-HR เวลา time, period
เซ้า sao HF เช้า morning
Notes: see also มื้อเซ้า, เข้าเซ้า
ใน nai HR ใน in, within
ตอน tɔ:n M ตอน when, period {ตอนสองโมงเซ้า = at 8 o'clock in the morning} {ในตอนกินเข้า = when eating}
กิน gin M กิน to eat, to consume, to use
เข้า khao LF ข้าว rice {กินเข้า = to eat} {ปูกเข้า, เฮ็ดเข้า = to grow/plant rice} {เกี่ยวเข้า = to harvest rice} {กับเข้า = courses eaten with rice}
ต้อง tɔŋ HF ต้อง to have to, must
เป็น pen M เป็น 1. to be, to exist
2. to be able to
3. to suffer, sth. happens to
4. เป็นหญัง[...]คือ in initial position: why? {เป็นหญังเขากะคือแปงฟัน = Why is he brushing his teeth?} {เป็นหญังเคี่ยงบินมันคือสิตก = Why is the airplane falling down?}
ญาม ɲa:m HR ยาม 1. period of time {ญามมื้อเซ้า = morning} {ญามเที่ยง = noon}
2. when, while {ญามทอด ต้องใซ้น้ำมันพ้อม = one needs to use oil when frying} {ญามสิออกไปข้างนอกกะต้องใส่เกิบ = when one goes out, ones has to wear shoes}
มื้อเซ้า mʉ:-sao HF-HF เช้า morning
เอิ้น ə:n HF พูด, เรียก to call, to say {เอิ้นง่ายๆ ว่า = in other words} {คนอี่สานเอิ้นว่า เป็นลูกคนกก = Isaan people call her ลูกคนกก}
อาด a:t LF อาจ 1. might, may, will
2. likely
ที่ thi: H ที่ 1. that, which {คนที่ยืนอยู่ฝั่งขวา = the person which is standing on the right = the person standing on the right} {เว้าคำที่บ่สุพาบ = to speak words which are impolite = to speak impolitely}
2. for ordinal numbers {ที่สาม = third}
หก hok M หก six
โมง mo:ŋ HR โมง o'clock, hour {ตอนนี้เวลาจักโมงแล้ว = What time is it?} {ตอนนี้เวลาห้าโมงเคิ่ง = It's half past five.}
ฮอด hɔ:t HF ถึง 1. to arrive, to attain {ฮอดจุดหมายปายทาง = (airplane, train etc.) to arrive at one's destination} {มันทันได้ฮอดหกโมงอยู่ = it's not yet 6 o'clock}
2. to, at {ผมญาวฮอดบ่าไหล่เอาโลด = long hair down to the shoulders}
3. about {บ่ได้เว้าฮอด = [I] haven't talked about [this]} {คนที่เฮาเว้าฮอดวั่งหั้นหละ = the person we've just talked about}
เก้า gao HF เก้า nine
ปะมาน pa-ma:n M-HR ประมาณ 1. about, approximatively
2. to guess, to estimate
นั้น nan HF นั้น that, there
ขั้น khan LF เมื่อ when, if
เกิน gə:n M เกิน to exceed, beyond, further/later/more than
เข้าสวย khao-su:ai LF-M ข้าวเที่ยง lunch
กาน ga:n M การ prefix indicating the action of ...
ใซ้ sai HF ใช้ to use
ปะโยก pa-yo:k M-LF ประโยค sentence
แบบ bɛ:p LF แบบ 1. example, model, kind
2. style, form, pattern, design
ไป่ pai H หรือยัง question particle: yet {เขาข้ามสะพานไป่ = Has he crossed the bridge yet?} {เขากินเข้าแล้วไป่ = Has he finished eating yet?} {กินเข้าไป่? บ่ทันกิน = Have you eaten yet? Not yet.}
แล้ว lɛ:o HF แล้ว 1. finished
2. already
3. and then, and next (especially แล้วกะ)
4. auxiliary for past tense
ติ ti M หรือ question particle {นอนแล้วติ = Are you already sleeping?} {กินเข้างายแล้วติ = Have you had breakfast yet?} {เจ้าเป็นนักเลียนติ = Are you a student?}
มา ma: HR มา 1. to come
2. auxiliary expressing action towards the present or focal time {กะคุเฮ็ดมาจากอี่หยัง = What is the bucket made of?} {แล้วเขากะเก็บเงินจากพุนั้นมา = and then she takes the money of that person}
นำกัน nam-gan HR-M together, jointly, with one another {บ่สามาดใซ้นำกันได้ = can't be used together} {เขากำลังญ่างนำกัน = they are walking together} {เหล้นบ่าดนำกันบ่ = Shall we play basketball?}
เด้อ də: HF final particle
กับ gap M กับ 1. and {ลุงกับป้า = uncle and aunt} {กวยเตียวหมูกับกวยเตียวไก่ = noodle soup with pork and noodle soup with chicken}
2. with, to {ค้ายๆ กับคำว่า ... = similar to the word ...}
3. prefix in front of foods {กับเข้า = side dishes eaten with rice} {เขากินกับกวยเตียว = he's eating noodle soup}
อี่หยัง i:-yaŋ H-M อะไร 1. what {นี้คืออี่หยัง = What is this?} {มื้อนี้เจ้าเฮ็ดอี่หยัง = What are you doing today?} {กินเข้างายกับอี่หยัง = What did you have for breakfast?}
2. something, anything, (in negations) nothing {บ่ต้องเฮ็ดอี่หยังอีกเลยนอกจากใส่ปุย = [we] don't need to do anything besides adding fertilizer}
หละ la M แหละ, ล่ะ 1. auxiliary for emphasis at the end of a phrase
2. auxiliary to create a follow-up question: And what about ... ? {แล้วลดคันที่สองหละ = And what about the second car?}
พ่อใหญ่ phɔ:-ɲai H-H used to address a male person older than the speaker
อัน an M อัน 1. thing, object
2. general clf. for objects
โตอย่าง to:-ya:ŋ M-H ตัวอย่าง example
มี mi: HR มี 1. to have
2. there is
กัน gan M กัน mutual, each other, with another, together {เขากำลังนั่งเว้ากัน = they're sitting and talking} {เขาสองคนฮักกัน = they love each other} {ปาสองโตนี้ ใหญ่ห่างกันหลายบ่ = These two fish here, are they very different in size (from each other)?} {ต่างกัน = to be different (from each other)} {ก่องอันไหนหนักกว่ากัน = Which box is heavier (than the other(s))?}